ชื่อ - นามสกุล (ภาษาไทย) : ดร.อมลณัฐ  ฉัตรตระกูล
ชื่อ - นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) : Dr. Amonnat  Chattrakul
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
หลักสูตร : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
วิชาเอก : พืชศาสตร์
Email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. 
ประวัติการศึกษา : 
     - วท.ด. (เกษตรศาสตร์) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
     - วท.ม. (เกษตรศาสตร์) สาขาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
     - วท.บ. (เกษตรศาสตร์) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 
ประสบการณ์ด้านการวิจัย
ผู้อำนวยการแผนงานวิจัย
2557 เทคโนโลยีการผลิตบัวบกและการใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]
2555 เทคโนโลยีการผลิตและการใช้ประโยชน์ของไข่น้ำในเชิงพาณิชย์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]
2551 โครงการวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาไปสู่ชุมชนแห่งความพอเพียง ของหมู่บ้านป่าบง ตำบลตะเบาะ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]

หัวหน้าโครงการ
2557 เทคโนโลยีการผลิตบัวบกปลอดสารพิษสู่ผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพ
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]
[ผู้อำนวยการแผนฯ : อมลณัฐ ฉัตรตระกูล   คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]
2556 ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีในไข่น้ำที่มีต่อพืชทดสอบ
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : ทั่วไป]
2555 การพัฒนาการผลิตและการเก็บรักษาไข่น้ำ
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]
[ผู้อำนวยการแผนฯ : อมลณัฐ ฉัตรตระกูล   คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]
2554 ปัจจัยของแสงที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของไข่น้ำ
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : ทั่วไป]
2554 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ปุ๋ยหมักจากวัสดุเหลือใช้ของมะขาม
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]
[ผู้อำนวยการแผนฯ : บุญรัตน์ พิมพาภรณ์]
2554 การพัฒนาการผลิตและการตลาดข้าวเพื่อเข้าสู่มาตรฐานข้าวอินทรีย์ของกลุ่มเกษตรกร อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : สกอ.]
2553 การพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาการวางแผนการทดลองและสถิติที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรของนักศึกษา คณะเทคโนโลยีการเกษตร
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : การเรียนการสอน]
2552 การพัฒนาการผลิตและการตลาดเพื่อเข้าสู่ระบบการจัดการคุณภาพ GAP ของเกษตรกรผู้ปลูกพริกในจังหวัดเพชรบูรณ์  
[แหล่งทุน : เครือข่ายการวิจัยภาคเหนือตอนล่าง (มน.)]
2552 การพัฒนาวิธีการผลิตพริกที่เหมาะสมในการป้องกันกำจัดหนอนด้วงกินรากและโรคแอนแทรกโนสของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : เครือข่ายการวิจัยภาคเหนือตอนล่าง (มน.)]
2550 สภาวะและวิธีการที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์พืชสมุนไพรขมิ้นชัน
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์]
2550 การพัฒนาศักยภาพของสมุนไพรในเชิงการค้าของชาวเขา บ้านเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์]
2550 การพัฒนาศักยภาพการผลิตสมุนไพรในเชิงการค้าของชาวเขา บ้านเข็กน้อย อำเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ์
2548 การมีส่วนร่วมของสหภาคีระหว่างภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์มะขาม จังหวัดเพชรบูรณ์
2546 ดำเนินโครงการวิจัยและเข้ารับการฝึกอบรมเรื่อง How qualitative redio-immunological assays (RIA) are working in off-season fruit in lichi ณ University of Hohenheim, Stuttgart, Germany ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก Deutsche Forschungsgemein Schzft German Research Council and National Research Council of Thailand (NRCT-DFG) ระหว่างเดือน กันยายน พ.ศ. 2546 ถึงเดือนมกราคม 2547
2545 โครงการวิจัยเรื่อง การแก้ปัญหาการให้ผลเว้นปี และการปรับปรุงเทคนิคการผลิตผลไม้นอกฤดูกาลในลิ้นจี่ ลำไย และมะม่วง ปี พ.ศ. 2544 – 2546 โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิทยา สรวมศิริ เป็นหัวหน้าโครงการ คณะผู้วิจัยฝ่ายไทย ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พาวิน มะโนชัย  ดร.ดรุณี นาพรหม  นางสาวอมลณัฐ ฉัตรตระกูล  นายสิทธิเดช ร้อยกรอง  และนางสาวกนกวรรณ ศรีงาม คณะผู้วิจัยฝ่ายเยอรมัน ได้แก่ Prof. Dr. F. Bangerth, Dr. M. Hegele, Prof. Dr. V. Roemheld Uninversity of Hohenheim, Stuttgart, Germany ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย โครงการความร่วมมือระหว่างไทย – เยอรมัน (NRCT-DFG) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
2543 การรวบรวมเทคโนโลยีการเกษตรพื้นบ้านของเกษตรกรในจังหวัดพิจิตร

ผู้ร่วมวิจัย
 2562 ศักยภาพการผลิตมะเดื่อฝรั่งแบบมีส่วนร่วมกับเกษตรกร อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ [แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : เพื่อสร้างองค์ความรู้พื้นฐานของประเทศ] [หัวหน้าโครงการฯ : สมคิด ฤทธิ์เนติกุล   คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]
2562  การเพิ่มอัตราการงอกและการเจริญเติบโต ของข้าวลืมผัวด้วยพลังงานสนามแม่เหล็ก
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : เพื่อสร้างองค์ความรู้พื้นฐานของประเทศ]
[หัวหน้าโครงการฯ : ณัฐพล ภู่ระหงษ์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]
2560 การอนุรักษ์ แนวทางการใช้ประโยชน์และการพัฒนามันพื้นเมืองสกุล Dioscorea sp. สู่อุตสาหกรรมของจังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : สร้าง สะสมองค์ความรู้ที่มีศักยภาพ]
[หัวหน้าโครงการฯ : นุชจรี สิงห์พันธ์   คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม]

บทความวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร
2561 ผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตของกระดอม
อมลณัฐ ฉัตรตระกูล 
[แหล่งตีพิมพ์ : วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 49 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) มกราคม – เมษายน 2561 หน้าที่ 124-128]
2548 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณออกซินที่ตายอดกับการออกดอกของลิ้นจี่ 
อมลณัฐ ฉัตรตระกูล1,  ดรุณี นาพรหม2,  พาวิน มะโนชัย3,  พิทยา สรวมศิริ4  
[แหล่งตีพิมพ์ : วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 36 ฉบับที่ 5-6 2548: 209-215.]
2547 การเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนใน Xylem sap และในใบของลิ้นจี่ภายใต้สภาวะชักนำให้ออกดอกด้วยอุณหภูมิต่ำ
อมลณัฐ ฉัตรตระกูล1,  ดรุณี นาพรหม2,  สัญชัย พันธโชติ3,  พิทยา สรวมศิริ4
[แหล่งตีพิมพ์ : วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปี 35 ฉบับ 5–6 (พิเศษ) สิงหาคม – ธันวาคม 2547: 117–120.]
2547 Effect of leaf age on the response of flower induction and related hormonal changes in longan trees after KCIO3 treatment.   
Hegele, M., Naphrom, D., Manochai, P., Chattrakul, A., Sruamsiri, P. and F. Bangerth  
[แหล่งตีพิมพ์ : Acta Horticulturae 653:417-424.]
2542 การตอบสนองของเกษตรกรต่อเทคโนโลยีการพัฒนาคุณภาพส้มโอท่าข่อยในจังหวัดพิจิตร  
อมลณัฐ ฉัตรตระกูล 
[แหล่งตีพิมพ์ : ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 ตุลาคม 2542 – มีนาคม 2543:85-89]

บทความวิจัยที่ได้รับการนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ
2551 การพัฒนาการผลิตและการตลาดเพื่อเข้าสู่ระบบการจัดการคุณภาพ GAP ของเกษตรกรผู้ปลูกพริกในจังหวัดเพชรบูรณ์
อมลณัฐ ฉัตรตระกูล1,  รัฐพล ชูยอด2,  รังสฤษฏิ์ เกาะแก้ง3,  พิสมัย ผลประเสริฐ4,  กนกภรณ์ แสงประทีป5
[แหล่งตีพิมพ์ : ในรายงานการประชุมวิชาการนเรศวรวิจัย ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 28 -29 กรกฎาคม 2551 พิษณุโลก. น. 325. ]
2544 Factor influencing flower induction in longan by KCIO3.   
Manochai, P., Chattrakul, A., Sruamsiri, P., Naphrom, D., Hegele, M. and F. Bangerth.
[แหล่งตีพิมพ์ : Extended Abstracts of the 9th International Symposium on Plant Bioregulators in Fruit Production. Zeditors: Kang, S. M., Bangerth, F. and S. K. Kim. International Society for Horticultural Science (ISHS) and Korean Society for Horticultural Science (KSHS). ]

ตำรา
2547 พาวิน มะโนชัย  วรินทร์ สุทนต์  วินัย วิริยอลงกรณ์  จิรนันท์ เสนาหาญ  เสกสันต์ อุสสหตานนท์  นภดล จรัสสัมฤทธิ์  อมลณัฐ ฉัตรตระกูล  และพิทยา สรวมศิริ. 2547. การชักนำการออกดอกของลำไยด้วยสารคลอเรต. พิมพ์ครั้งที่ 1. สาขาไม้ผล ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สินีนาฎการพิมพ์ เชียงใหม่