ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) : นายทิวา แก้วเสริม
ชื่อ – นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) : Mr.Tiwa Keawserm
ตำแหน่ง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
หลักสูตร : เทคโนโลยีบัณฑิต
สาขาวิชา : ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
Email : anova_id@hotmail.com
ประวัติการศึกษา :
– ค.อ.ม. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนดลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง
– วท.บ. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สถาบันราชภัฏนครสวรรค์
2560
การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมตกแต่งบ้านพักอาศัยจากเส้นใยเศษของวัชพืชและวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาไปสู่ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : สร้าง สะสมองค์ความรู้ที่มีศักยภาพ]
2558
การออกแบบและพัฒนาเครื่องเรือนไม้มะขาม จากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาไปสู่ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ [แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พัฒนาชุมชนและท้องถิ่น]
2557
การออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ ผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากเชือกกล้วย
[แหล่งทุน : เครือข่ายการวิจัยภาคเหนือตอนล่าง (มน.)]
2555
(โครงการย่อย) ออกแบบทดลองสร้างผลิตภัณฑ์จากกาบกล้วยโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : พิจารณาผ่าน วช.]
[ผู้อำนวยการแผนฯ : นุทิศ เอี่ยมใส]
2554
การออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ชาใบหม่อนกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลหนองแม่นา อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : ทั่วไป]
2553
การออกแบบตราสัญลักษณ์บรรจุภัณฑ์มะขามแปรรูปตำบลน้ำร้อน จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : ทั่วไป]
2553
พัฒนาการเรียนหลักการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : การเรียนการสอน]
2552
การออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มตำบลบุ่งคล้า จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : ทั่วไป]
2551
ปัญหาและความต้องการการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น (OTOP) จังหวัดเพชรบูรณ์
[แหล่งทุน : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์] [ประเภททุน : ทั่วไป]
2562
การพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมตกแต่งบ้านพักอาศัยจากเส้นใยเศษของวัชพืชและวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาไปสู่ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์
ทิวา แก้วเสริม1, พิณทิพย์ แก้วแกมทอง2
[แหล่งตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 24 – 25 มกราคม 2562 ณ หอประชุมพญางำเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา. หน้าที่ 421-431]
2561
การออกแบบลวดลายผ้าบาติกเทคนิคผสม โดยใช้แนวคิดศิลปกรรมจังหวัดเพชรบูรณ์
ณัฐวุฒิ จันทรา1, น้ำผึ้ง พูนวิวัฒน์2, มานะ อินพรมมี3, ทิวา แก้วเสริม4, ขุนแผน ตุ้มทองคำ5
[แหล่งตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 5 วันที่ 8 – 9 มีนาคม 2561 ณ อิมพีเรียล ภูแก้ว ฮิลล์ รีสอร์ท อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. หน้าที่ 882-890]